อาจารย์ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก


อาจารย์ศรัณย์ภัทร์  บุญฮก

คุณวุฒิ

ระดับปริญญา

สาขาวิชา

ปีที่สำเร็จ

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

อ.ม.

ภาษาไทย

2558

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

         อ.บ.
ภาษาไทย
(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)

2555

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ภาระงานงานสอน

THE4401 โลกทัศน์ในวรรณกรรมไทย THE3404 การสอนวรรณกรรมวิจารณ์ THP1404 แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย THP1405 พัฒนาการวรรณคดีไทย THE4411 บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว THE4412 บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

 

ผลงานทางวิชาการ

หนังสือ/เอกสารประกอบการสอน

ศรัณย์ภัทร์  บุญฮก และคณะ. (2560). ถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย.กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อสิ่งพิมพ์และถ่ายภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

บทความ

ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก. (2561). ฟังความสองข้าง: ความสำคัญและนัยยะของผู้เล่าเรื่องแบบบุรุษที่หนึ่งในนวนิยายเรื่อง มายาเงา. วารสารมนุษยศาสตร์ 25, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561) (ตอบรับตีพิมพ์)

ศรัณย์ภัทร์ บุญฮกและน้ำผึ้ง ปัทมะลางคุล. (2559). คติชน ชาติพันธุ์กับการอยู่ร่วมกันท่ามกลางความหลากหลายในนวนิยายของพงศกร. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 35,2 (ก.ค.-ธ.ค. 2559): 163-182.

ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก. (2558). สร้อยแสงจันทร์: ปราสาทหิน นกจากนิทานและหมู่บ้านชาวกูย. วารสารเมืองโบราณ 41,2 (เม.ย.-มิ.ย. 2558): 131-139.

ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก. (2557). จาก “รามเกียรติ์” ถึง “ยักษ์”: แรงบันดาลใจจากวรรณคดีสู่การสร้างสรรค์ภาพยนตร์แอนิเมชัน. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 31,1(มิ.ย. 2557): 107-145.

ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก. (2557). การรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับอินโดนีเซียในนวนิยายเรื่อง จะฝันถึงเธอ ทุกคืนที่มีแสงดาว ของประภัสสร เสวิกุล ใน วิชญมาลา: รวมบทความภาษาและวรรณคดีไทย (ใกล้รุ่ง อามระดิษ, บรรณาธิการ): 184-237. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.